Avsnitt
-
WiTcast 139 - สอนลิ้นจระเข้ / แพลงก์ตอนขี้เหนียว / ปูเจ็บเป็น / ศิลปะผนังถ้ำ + นีแอนเดอร์ทัล / ยากัน HIV และ CRISPR รักษา sickle cell
https://www.youtube.com/watch?v=t7CnIhui7og
ศิลปะผนังถ้ำเก่าสุด 66000 ปี ฝีมือนีแอนเดอร์ทัล
https://archaeologymag.com/2024/12/neanderthals-created-hand-stencil-over-66000-years-ago/
งานวิจัยใหม่เจาะ timeline การเจอกันและแลกเปลี่ยนยีนส์ระหว่างมนุษย์กับนีแอนเดอร์ทัล
https://www.cbc.ca/radio/quirks/dec-14-the-human-cell-atlas-google-maps-for-our-bodies-and-more-1.7409683
ศิลปะผนังถ้ำเก่าสุดของ homo sapiens ส่วนใหญ่เจอที่สุลาเวสี ตัวอย่างรูปหมู อายุ 45000 ปี
https://www.smithsonianmag.com/science-nature/45000-year-old-pig-painting-indonesia-may-be-oldest-known-animal-art-180976748/
ข่าวเจอโซนเด็กวาดเล่นในถ้ำที่สเปน อายุ 14000 ปี
https://www.science.org/content/article/enigmatic-cave-art-was-made-ice-age-children
นักวิจัยออสเตรเลียสอนลิ้นจระเข้ให้เลี่ยงคางคกพิษ
https://www.npr.org/2024/08/16/g-s1-17159/cane-toads-freshwater-crocodiles-australia-invasive-intervention
https://www.youtube.com/watch?v=L2aVUfG40_8
งานวิจัยปูเจ็บเป็น
https://www.livescience.com/animals/crustaceans/do-crabs-feel-pain
https://www.sciencealert.com/scientists-confirm-crabs-really-can-experience-pain-after-all
https://www.cbc.ca/radio/quirks/dec-14-the-human-cell-atlas-google-maps-for-our-bodies-and-more-1.7409683
หมวกแซลมอน แฟชั่นย้อนยุคของออร์กา?
https://www.nationalgeographic.com/animals/article/orcas-puget-sound-salmon-hats-killer-whales
แก้ข่าว ปลาไหลยัดจมูกแมวน้ำไม่ใช่แฟชั่น
https://www.theguardian.com/us-news/2018/dec/06/hawaiian-monk-seal-eel-stuck-up-nose-why
ทำให้แพลงก์ตอนขี้เหนียว กู้วิกฤติ CO2
https://home.dartmouth.edu/news/2024/12/tiny-animals-ocean-may-help-solve-carbon-problem
https://www.nature.com/articles/s41598-024-79912-z
https://www.cbc.ca/radio/quirks/dec-28-silly-seals-sabotage-serious-science-and-more-1.7416089
ยากัน HIV ผลทดสอบสุดปัง Lenacapavir
https://www.science.org/content/article/breakthrough-2024#section_breakthrough
https://www.gilead.com/company/company-statements/2024/gilead-submits-new-drug-application-to-us-food-and-drug-administration-for-twice-yearly-lenacapavir-for-hiv-prevention
FDA อนุมัติการรักษา sickle cell ด้วย CRISPR (casgevy ของ Vertex)
https://www.fda.gov/news-events/press-announcements/fda-approves-first-gene-therapies-treat-patients-sickle-cell-disease
https://www.casgevy.com/sickle-cell-disease -
Saknas det avsnitt?
-
Safe Zone ep.3 - อาบันไม่โอเค: ตีแผ่วิธีล่อลวงเข้าลัทธิ เคส 7M tiktok cult
อิงจากสารคดี Dancing for the Devil ทาง Netflix -
Time Stamps
0:00 เริ่ม + ความประทับใจแรกต่อปารีส
10:29 เที่ยว Lourve และความรู้สึกต่อ Mona Lisa
27:16 เพิ่งมาถึงอีกเมืองชื่อ Vitré
34:00 เล่าย้อนเรื่องเดินชมสวน Jardin de Plantes ยามเช้า
42:53 เล่าย้อนไปกินโอโคโนมิยากิ + เที่ยว Montmartre + ประสบการณ์ส้วมเบร้อ
56:55 ความประทับใจ Vitré วันแรก กินเครป + คุยเรื่องชาวฝรั่งเศสไม่ค่อยเล่นมือถือ
1:12:33 อาบันเล่าเรื่องงานที่มาจัด workshop ด้านวัฒนธรรม
1:20:08 อาหมีเล่าความประทับใจไปเดินเล่นคนเดียวในเมือง
1:38:28 Vitré วันที่สอง เกร็ดประวัติศาสตร์ + การกินเครปอีกแล้ว
1:50:03 อาบันเล่าประสบการณ์จัด workshop
2:06:33 กลับมาปารีสอีกรอบ เดินจากโรงแรมไปมิวเซียม เล่าประสบการณ์เบร้อเล็กๆ เรื่องของกิน
2:21:56 เล่าประสบการณ์ไป catacombs สุสานใต้ดิน
2:42:10 เล่าประสบการณ์มิวเซียม Natural History สุดอีปิก แบ่งเป็น
Galerie de paléontologie et d'anatomie comparée (อาคารบรรพชีวินและกายวิภาคเปรียบเทียบ) กับ Grande Galerie de l'Evolution (อาคารวิวัฒนาการ)
--------------
รูปเยอะจนไม่รู้จะลงยังไงหมด -
ข่าว polaris Dawn spacewalk -1,2
https://www.youtube.com/watch?v=VjHzpOqu5iU
https://www.youtube.com/watch?v=hC7YvhkgZp4
ข่าวหุ่นยนต์ One X
https://www.youtube.com/watch?v=bUrLuUxv9gE
ข่าวสีย้อมชีโตส Tartrazine ทำให้หนังหนูใส -1,2,3
ข่าว Dark Oxygen -1,2
ช่วงใหม่ "WiT สัตว์" หมูเด้ง ฮิปโปแคระ
ข่าวแมงมุมใช้แสงหิ่งห้อยปลอมเป็นตัวเมียล่อหิ่งห้อยตัวผู้ให้มาติดใย -1,2 -
"จิตวิทยาและสมอง เพื่อคนเมือง"
โดย ดร. นพ.ชัยภัทร ชุณหรัศมิ์, เรืองริน อักษรานุเคราะห์ และวีรธัช พงษ์เรืองเกียรติ
คนกรุงฯ ควรดูแลสุขภาพจิตกันอย่างไร? ทำไมเมืองใหญ่ทำให้คนเหงา? สมองของเราละเอียดอ่อนและเปราะบางเพียงใด? มาร่วมหาคำตอบไปด้วยกันกับเหล่าวิทยากรมากประสบการณ์ ผู้เชี่ยวชาญทั้งประสาทวิทยาศาสตร์และจิตวิทยา!
-
WiT Quiz
สัตว์โบราณตัวไหนไม่มีจริง
เฉลย Lokiceratops จริง -1
เฉลย Kermitops จริง -1
เฉลย Plesiosaurus nobitai หลอก
แต่ที่มีจริงคือไดโนเสาร์กินเนื้อตั้งชื่อตามโนบิตะ Eubrontes nobitai - 1
พีพีกับอาจารย์ Pattie Maes ที่ MIT M
edia Lab
https://www.youtube.com/watch?v=nZ-VjUKAsao
WiT Quiz ข้อ 2 ต่อ
เฉลยข้อ Griffin มาจาก protoceratops หลอก - 1,2
เฉลย หินงู snake stones ในศาสนาคริสต์คือฟอสซิลแอมโมไนต์ จริง - 1
ฟอสซิลแอมโมไนต์ในศาสนาพุทธมีความเชื่อว่าเป็นพระเกศาธาตุของพระพุทธเจ้า - หลอก
แต่ในศาสนาฮินดูมีนับถือแอมโมไนต์เป็นจักรของพระนารายณ์ - 1 -
อ้างอิงข้อมูลงานวิจัยที่บอกว่า สภาพจิตไม่ส่งผลต่อการเป็นหรือลุกลามของมะเร็ง -1,2,3 -
https://www.youtube.com/watch?v=ctzOKzVGmP4
-
ข้าพเจ้า แทนไท ประเสริฐกุล ไปสัมภาษณ์อาจารย์วินมาครับ รอบนี้คุยเรื่องคอร์ส Under the Sea ที่อ.วินเพิ่งเปิดสอนปีแรก สนุกนิ ตามมาฟังเร้ว
https://www.youtube.com/watch?v=4aTfzkkx7XI -
https://www.youtube.com/live/LMSoGl4fYX0?si=IpLj0F0rYsw3vZH4
ข่าววิธีลดโกรธ -1
ข่าวดูดคาร์บอนออกจากน้ำทะเล -1
นกติ๊ดญี่ปุ่น ตัวเมียเมื่อถึงหน้าบ้านแล้วจะเกาะข้างหน้ากระพือปีกถี่ๆ เป็นการเชื้อเชิญสามีให้เข้าบ้านก่อน
กบตัวเมีย มีพฤติกรรมเชื้อเชิญตัวผู้ด้วยการขยิบตา
นกกะรางหัวขวาน ตัวเมียมีพฤติกรรมจิกหัวตัวผู้ที่ไม่ช่วยเลี้ยงลูก
เฉลย
ข้อ 1 จริง
https://www.science.org/content/article/after-you-female-bird-s-flutter-conveys-polite-message-her-mate
ข้อ 2 จริง
https://www.science.org/content/article/flirting-female-frogs-blink-beckon-potential-princes
ข้อ 3 หลอก
ข่าวจริงคือแม่เลี้ยงลูกโหด ป้อนน้องให้พี่กิน
https://www.science.org/content/article/watch-out-colorful-bird-raises-nest-cannibals -
https://youtube.com/live/H-rlA6r-0Jo
Ape News
ข่าวโบโนโบ้ก้าวร้าวกว่าชิมแปนซี -1,2,3
ข่าวอุรังใช้ยาทาแผล -1,2
ข่าวชิมแปนซีกินขี้ค้างคาว -1
ข่าว AlphaFold 3 -1
ข่าว AI ช่วยค้นพบยาปฏิชีวนะ -1,2
WiT Quizzz
ข้อไหนหลอก
ตุ่นปากเป็ด สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ประหลาดที่สุด นอกจากไม่มีหัวนมแล้ว นักวิทย์ยังเพิ่งค้นพบว่ามันสามารถให้นมทางตูดได้ด้วย
งานวิจัยล่าสุดชี้ ความสำเร็จในการลดมลพิษทางอากาศของจีน ส่งผลให้โลกร้อนหนักขึ้นในช่วง 10 ปี ที่ผ่านมา
ออสเตรเลียทำโครงการอนุรักษ์เหี้ยท้องถิ่นด้วยการปล่อยไข่คางคกพิษ 200,000 ฟอง
เฉลย
ข้อ 2 จริง
https://www.science.org/content/article/deadly-pacific-blobs-tied-emission-cuts-china
https://www.science.org/content/article/clearer-skies-may-be-accelerating-global-warming
ข้อ 3 จริง
https://www.science.org/content/article/young-toads-are-teaching-australian-lizards-to-avoid-deadly-snacks
ข้อ 1 หลอก
เรื่องจริงคือ เขียดงูให้นมลูกทางตูด พฤติกรรมที่เพิ่งค้นพบ
https://www.science.org/content/article/watch-snakelike-creature-feed-milk-its-young -
https://youtu.be/vndKvGdkXZk?si=cAcpvFqv8RyeZ-OL
ข้อมูลเพิ่มเติมของโครงการ BrainCode 101 https://braincode101.github.io/
ฟัง podcast จบ ชวนไปลงลึกยิ่งขึ้นกับคอร์ส Brain Building Block ทางช่อง @brainCode101
https://www.youtube.com/watch?v=kk3OFeGYAzA
และถ้าสนใจมาเข้าค่าย brainCodeCamp เปิดรับสมัครแล้วตั้งแต่ 16 มิถุนายน - 15 กรกฎาคม 2566 https://braincodecamp.web.app/
ชื่อจริงแขกรับเชิญ
หมอกิ๊ก : ชัยภัทร ชุณหรัศมิ์
อ.ปอล : ลลิตตา สุริยาอรุณโรจน์
พิธีกร : แทนไท ประเสริฐกุล, อาบัน สามัญชน
งานนี้ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคน และทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัยและการสร้างนวัตกรรม
This research has received funding support from the NSRF via the Program Management Unit for Human Resources & Institutional Development, Research and Innovation
-
https://youtu.be/gxNUD3vbnDs?si=vsQRX_i_EAiYrbke
-
https://youtu.be/qu5v0ONycT0
ตามไปดูรายละเอียดกิจกรรม AI-Builders ได้ที่ https://ai-builders.github.io/
ดูโปรเจ็คของเด็กรุ่นก่อนๆ https://ai-builders.github.io/showcase
ข้อมูลเพิ่มเติมของโครงการ BrainCode 101 https://braincode101.github.io/ ฟัง podcast จบ ชวนไปลงลึกยิ่งขึ้นกับคอร์ส Brain Building Block ทางช่องยูทูบ @brainCode101
ดำเนินรายการ หมอกิ๊ก : ชัยภัทร ชุณหรัศมิ์ : แทนไท ประเสริฐกุล : อาบัน สามัญชน
แขกรับเชิญ อ.มาย ฐิติพัทธ อัชชะกุลวิสุทธิ์, อ.ธิป ธิปรัชต์ โชติบุตร
งานนี้ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคน และทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัยและการสร้างนวัตกรรม
This research has received funding support from the NSRF via the Program Management Unit for Human Resources & Institutional Development, Research and Innovation -
https://youtu.be/vo43-2G-8yk?si=S-hW_bhKp5mnzoAE
อีพีนี้ หมอกิ๊กพาผองเพื่อนมาชวนคุยเรื่องกำเนิด Ai (Articicial intelligence) เริ่มต้นด้วยปรัชญาการทำความเข้าใจสรรพสิ่งโดยการแยกย่อยและสร้างแบบจำลองของมันขึ้นมา ต่อด้วยประวัติศาสตร์การประดิษฐ์ปัญญา และการค้นพบที่ควบคู่ไปกับการศึกษาเซลล์ประสาท
ข้อมูลเพิ่มเติมของโครงการ BrainCode 101 https://braincode101.github.io/ ฟัง podcast จบ ชวนไปลงลึกยิ่งขึ้นกับคอร์ส Brain Building Block ทางช่องยูทูบ @brainCode101
ดำเนินรายการ หมอกิ๊ก : ชัยภัทร ชุณหรัศมิ์ : แทนไท ประเสริฐกุล : อาบัน สามัญชน
งานนี้ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคน และทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัยและการสร้างนวัตกรรม
This research has received funding support from the NSRF via the Program Management Unit for Human Resources & Institutional Development, Research and Innovation -
เรื่องที่พูดถึงในตอน
กำเนิดว่าว, ไม้ขีดไฟ, การหาค่าพาย (Pi), สามเหลี่ยมปาสคาล, รูปทรงเกล็ดหิมะ, การขุดหาน้ำมันดิบ, การสังเกตดาวหางและซูเปอร์โนวา, และอื่นๆ
ขอบคุณคุณเจมส์ที่มาเล่าเรื่องจีน และฝากติดตามเพจ https://www.facebook.com/JamezWenZong
Special Thanks เต้จาก The Principia ผู้มาช่วยการถ่ายทำ
https://youtu.be/1wSeWPKKXJg
-
https://youtube.com/live/Ih0LKkiG_AE
มาฟังจิตแพทย์และนักจิตบำบัดคุยกันว่าการคุกคามทางเพศคืออะไร ที่เจอมาใช่ไหมนะ หรือว่าคิดไปเอง
คุยกันแบบสบาย ๆ กับหมอมะเหมี่ยวและคุณมะเฟือง -
บรรยากาศการจัดรายการ
https://www.youtube.com/watch?v=UmJfT6jX-_E
ข่าว พบฟอสซิลหนังที่เก่าแก่ที่สุดตั้งแต่เคยเจอมา อายุเกือบ 300 ล้านปี -1,2
หนังนี้มาจากยุคเปอร์เมียน ประมาณ 300-250 ล้านปีก่อน
สันนิษฐานว่าเป็นของสัตว์เลื้อยคลานตัวเล็กๆ เหมือนกิ้งก่า ชื่อ Captorhinus aguti มีชีวิตอยู่ยุคก่อนไดโนเสาร์
ข่าววิเคราะห์สาเหตุการสูญพันธุ์ของเอปยักษ์ Gigantopithecus -1,2
ข่าวใช้เทคโนโลยี Lidar แสกนเจอผังเมืองโบราณที่อเมซอน - 1
ข่าวเพนกวินมีการนอนแบบ microsleep หลับครั้งละ 4-10 วินาที แต่หลับวันละหมื่นรอบ -1,2,3
ข่าว เฮอริเคนพัดผ่านแพขยะกลางทะเลแล้วพาไมโครพลาสติกขึ้นบก -1,2
ข่าวปี 2023 ทำลายสถิติอุณหภูมิผิวน้ำทะเลสูงสุด -1
เรื่องเด่นปีที่แล้ว - FDA อนุมัติยาชะลอสาเหตุอัลไซเมอร์ตัวแรก (Leqembi) -1,2
ข่าวนกกระเต็นมียีนผลิตโปรตีนแบบเดียวกับที่สะสมแล้วทำให้เป็นอัลไซเมอร์ แต่สำหรับนกน่าจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับการกันสมองกระแทกเวลาพุ่งลงน้ำไปจับปลา -1,2
Breakthrough of the Year 2023 นิตยสาร Science มอบให้ ยาตระกูล GLP-1 agonist เช่น Ozempic และ Wegovy ถล่มวงการลดน้ำหนัก (ทำให้อิ่มและอาหารย่อยช้าลง) ต้านเบาหวาน และมีศักยภาพจะช่วยบำรุงหัวใจ ไต และอาจช่วยเลิกพฤติกรรมเสพติดได้ด้วย -1
https://www.youtube.com/watch?v=QnmMSMF7wO4
https://www.youtube.com/watch?v=P6gt4A_3Whs
เฉลย
/
/
/
/
/
1. หลอก -1
ข้อ 2 จริง - รวมคำขวัญวันเด็ก
ข้อ 3 จริง - งานวิจัยความสุขเด็ก -1,2
- Visa fler