Avsnitt

  • รายการ Dr.Amp Podcast เรื่องเล่าสุขภาพดี กับ หมอแอมป์ โดย นพ. ตนุพล วิรุฬหการุญ

    รู้ลึกเรื่องฮอร์โมนไขมัน วิธีพิชิตโรคอ้วน กับหมอแอมป์ ปัจจัยสำคัญที่อาจทำให้เราเข้าสู่ภาวะโรคอ้วนได้ มาทำรู้จักกับฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับไขมันและภาวะโรคอ้วน 1. Leptin (เลปติน) 2. Adiponectin (อดิโพเนคทิน) 3. Resistin (รีซิสทิน) และมารู้จักกับไขมันทั้ง 2 ชนิด Brown Fat (ไขมันดี) และ White Fat (ไขมันเลว) ที่อยู่ในร่างกายเรา

  • โรคเบาหวาน ป้องกันได้ รู้จักกับโรคเบาหวานให้มากขึ้น ทั้งสาเหตุ ที่มาและความเสี่ยง รวมถึงวิธีการเลือกทานอาหาร และเคล็ดลับอื่นๆ ในการป้องกันตัวเอง
    ในรายการ Dr.Amp Podcast เรื่องเล่าสุขภาพดี กับ หมอแอมป์
    ตอน "เบาหวาน ป้องกันได้
    " โดย นพ. ตนุพล วิรุฬหการุญ
    -ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และ ผู้อำนวยการ BDMS Welness Clinic
    -ผู้อำนวยการ RoyalLife โรงพยาบาลกรุงเทพ
    -นายกสมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ (BARSO)

    🌐http://www.dramp.com​
    ➡️Instagram: DrAmp Team
    ➡️Spotify: Dr.Amp Team
    © drampCopyright 2020

    -เทปนี้มีลิขสิทธิ์ ห้ามนำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต มีผลในทางกฏหมาย-

    ปล.เป็นคลิปให้คำแนะนำแก่ผู้รักสุขภาพที่ยังไม่ป่วยและต้องการป้องกันโรคให้ตัวเอง สำหรับผู้ที่มีโรคแล้วยังไม่ควรทำตามและควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวก่อนนะครับ ด้วยความปรารถนาดีจาก หมอแอมป์

    -------------------

    แหล่งอ้างอิง

    1. American Diabetes Association, 2013. Diagnosis and classification of diabetes mellitus. Diabetes care, 36(Suppl 1), p.S67.
    2. Daneman, D., 2006. Type 1 diabetes. The Lancet, 367(9513), pp.847-858.
    3. Chatterjee, S., Khunti, K. and Davies, M.J., 2017. Type 2 diabetes. The Lancet, 389(10085), pp.2239-2251.
    4. World Health Organization, 2021. Diabetes. [Online] Available at: https://www.who.int/health-topics/diabetes#tab=tab_1 [Accessed 17 January 2021].
    5. Booth, F.W., Gordon, S.E., Carlson, C.J. and Hamilton, M.T., 2000. Waging war on modern chronic diseases: primary prevention through exercise biology. Journal of applied physiology, 88(2), pp.774-787.
    6. Pan, X.R., Li, G.W., Hu, Y.H., Wang, J.X., Yang, W.Y., An, Z.X., Hu, Z.X., Xiao, J.Z., Cao, H.B., Liu, P.A. and Jiang, X.G., 1997. Effects of diet and exercise in preventing NIDDM in people with impaired glucose tolerance: the Da Qing IGT and Diabetes Study. Diabetes care, 20(4), pp.537-544.
    7. Tuomilehto, J., Lindström, J., Eriksson, J.G., Valle, T.T., Hämäläinen, H., Ilanne-Parikka, P., Keinänen-Kiukaanniemi, S., Laakso, M., Louheranta, A., Rastas, M. and Salminen, V., 2001. Prevention of type 2 diabetes mellitus by changes in lifestyle among subjects with impaired glucose tolerance. New England Journal of Medicine, 344(18), pp.1343-1350.
    8. American Diabetes Association. Gestational diabetes mellitus. Diabetes care. 2004 Jan 1;27(suppl 1):s88-90.
    9. Yao K, Bian C, Zhao X. Association of polycystic ovary syndrome with metabolic syndrome and gestational diabetes: Aggravated complication of pregnancy. Experimental and therapeutic medicine. 2017 Aug 1;14(2):1271-6.
    10. Harding JL, Pavkov ME, Magliano DJ, Shaw JE, Gregg EW. Global trends in diabetes complications: a review of current evidence. Diabetologia. 2019 Jan 1;62(1):3-16.
    11. Abdullah, N., Attia, J., Oldmeadow, C., Scott, R.J. and Holliday, E.G., 2014. The architecture of risk for type 2 diabetes: understanding Asia in the context of global findings. International journal of endocrinology, 2014.
    12. Tang, Z., Fang, Z., Huang, W., Liu, Z., Chen, Y., Li, Z., Zhu, T., Wang, Q., Simpson, S., Taylor, B.V. and Lin, R., 2016. Non-obese diabetes and its associated factors in an underdeveloped area of South China, Guangxi. International journal of environmental research and public health, 13(10), p.976.
    13. Manning AK, Hivert MF, Scott RA, Grimsby JL, Bouatia-Naji N, Chen H, Rybin D, Liu CT, Bielak LF, Prokopenko I, Amin N. A genome-wide approach accounting for body mass index identifies genetic variants influencing fasting glycemic traits and insulin resistance. Nature genetics. 2012 Jun;44(6):659-69.
    14. Li H, Gan W, Lu L, Dong X, Han X, Hu C, Yang Z, Sun L, Bao W, Li P, He M. A genome-wide association study identifies GRK5 and RASGRP1 as type 2 diabetes loci in Chinese Hans. Diabetes. 2013 Jan 1;62(1):291-8.
    15. Scott LJ, Mohlke KL, Bonnycastle LL, Willer CJ, Li Y, Duren WL, Erdos MR, Stringham HM, Chines PS, Jackson AU, Prokunina-Olsson L. A genome-wide association study of type 2 diabetes in Finns detects multiple susceptibility variants. science. 2007 Jun 1;316(5829):1341-5.

    Reference เพิ่มเติม
    https://youtu.be/NXizRb44wLg

  • Saknas det avsnitt?

    Klicka här för att uppdatera flödet manuellt.

  • รายการ สุขใจใกล้หมอ "ใกล้หมอชะลอวัยกับหมอแอมป์"

    "เคล็ดลับสุขภาพดี อายุยืนยาว 100 ปี อย่างมีคุณภาพ (แบบไม่ป่วย)" ตอนที่ 3
    โดย หมอแอมป์ - นพ. ตนุพล วิรุฬหการุญ

    -ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และ ผู้อำนวยการ BDMS Welness Clinic
    -ผู้อำนวยการ RoyalLife โรงพยาบาลกรุงเทพ
    -นายกสมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ (BARSO)
    ออกอากาศทางช่อง PPTV HD 36 เมื่อ พศ.2558


    http://www.barso.or.th
    (สมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ)

    🌐http://www.dramp.com
    ➡️Instagram: DrAmp Team
    ➡️Spotify: Dr.Amp Team
    © drampCopyright 2020

    -เทปนี้มีลิขสิทธิ์ ห้ามนำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต มีผลในทางกฏหมาย-

    ปล.เป็นคลิปให้คำแนะนำแก่ผู้รักสุขภาพที่ยังไม่ป่วยและต้องการป้องกันโรคให้ตัวเอง สำหรับผู้ที่มีโรคแล้วยังไม่ควรทำตามและควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวก่อนนะครับ ด้วยความปรารถนาดีจาก หมอแอมป์

  • รายการ สุขใจใกล้หมอ "ใกล้หมอชะลอวัยกับหมอแอมป์"

    "เคล็ดลับสุขภาพดี อายุยืนยาว 100 ปี อย่างมีคุณภาพ (แบบไม่ป่วย)" ตอนที่ 2
    โดย หมอแอมป์ - นพ. ตนุพล วิรุฬหการุญ

    -ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และ ผู้อำนวยการ BDMS Welness Clinic
    -ผู้อำนวยการ RoyalLife โรงพยาบาลกรุงเทพ
    -นายกสมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ (BARSO)
    ออกอากาศทางช่อง PPTV HD 36 เมื่อ พศ.2558


    http://www.barso.or.th
    (สมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ)

    🌐http://www.dramp.com
    ➡️Instagram: DrAmp Team
    ➡️Spotify: Dr.Amp Team
    © drampCopyright 2020

    -เทปนี้มีลิขสิทธิ์ ห้ามนำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต มีผลในทางกฏหมาย-

    ปล.เป็นคลิปให้คำแนะนำแก่ผู้รักสุขภาพที่ยังไม่ป่วยและต้องการป้องกันโรคให้ตัวเอง สำหรับผู้ที่มีโรคแล้วยังไม่ควรทำตามและควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวก่อนนะครับ ด้วยความปรารถนาดีจาก หมอแอมป์

  • รายการ สุขใจใกล้หมอ "ใกล้หมอชะลอวัยกับหมอแอมป์"

    "เคล็ดลับสุขภาพดี อายุยืนยาว 100 ปี อย่างมีคุณภาพ (แบบไม่ป่วย)" ตอนที่ 1
    โดย หมอแอมป์ - นพ. ตนุพล วิรุฬหการุญ

    -ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และ ผู้อำนวยการ BDMS Welness Clinic
    -ผู้อำนวยการ RoyalLife โรงพยาบาลกรุงเทพ
    -นายกสมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ (BARSO)
    ออกอากาศทางช่อง PPTV HD 36 เมื่อ พศ.2558


    http://www.barso.or.th
    (สมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ)

    🌐http://www.dramp.com
    ➡️Instagram: DrAmp Team
    ➡️Spotify: Dr.Amp Team
    © drampCopyright 2020

    -เทปนี้มีลิขสิทธิ์ ห้ามนำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต มีผลในทางกฏหมาย-

    ปล.เป็นคลิปให้คำแนะนำแก่ผู้รักสุขภาพที่ยังไม่ป่วยและต้องการป้องกันโรคให้ตัวเอง สำหรับผู้ที่มีโรคแล้วยังไม่ควรทำตามและควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวก่อนนะครับ ด้วยความปรารถนาดีจาก หมอแอมป์

  • รายการ สุขใจใกล้หมอ "ใกล้หมอชะลอวัยกับหมอแอมป์" ตอน "การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ด้วยเวชศาสตร์ป้องกัน" โดย หมอแอมป์ - นพ. ตนุพล วิรุฬหการุญ -ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และ ผู้อำนวยการ BDMS Welness Clinic -ผู้อำนวยการ RoyalLife โรงพยาบาลกรุงเทพ -นายกสมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ (BARSO)

  • เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพคืออะไร? มีวิธีเลือกซื้ออย่างไร? ควรเลือกแบรนด์ไหนดี? ราคาแพงมากไหม? คุณอาจจะเคยมีคำถามเหล่านี้เวลาเดินเข้าร้านสะดวกซื้อบ่อยๆ ด้วยวิถีชีวิตอันเร่งรีบในปัจจุบัน ทำให้เราพยายามหา 'ทางลัด' ที่จะช่วยให้ร่างกายยังคงความสดชื่นและกระปรี้กระเปร่า ไม่แก่เร็ว แต่ด้วยตัวเลือกอันมากมาย ทำให้เราไม่มั่นใจว่าเครื่องดื่มแบบไหนจะตอบโจทย์สุขภาพของเราได้ดีที่สุด วันนี้มาฟังคำแนะนำดีๆจากคุณหมอแอมป์ กันค่ะ แล้วคุณจะพบว่าเครื่องดื่มชะลอวัย หาง่ายและไม่ได้แพงอย่างที่คุณคิด...

    รายการ สุขใจใกล้หมอ "ใกล้หมอชะลอวัยกับหมอแอมป์"

    "เครื่องดื่มชะลอวัย"
    โดย หมอแอมป์ - นพ. ตนุพล วิรุฬหการุญ
    -ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และ ผู้อำนวยการ BDMS Welness Clinic
    -ผู้อำนวยการ RoyalLife โรงพยาบาลกรุงเทพ
    -นายกสมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ (BARSO)

    🌐 http://www.dramp.com
    ➡️ Instagram: DrAmp Team
    ➡️ Spotify: Dr.Amp Team
    © drampCopyright 2015

    -เทปนี้มีลิขสิทธิ์ ห้ามนำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต มีผลในทางกฏหมาย-

    ปล.เป็นคลิปให้คำแนะนำแก่ผู้รักสุขภาพที่ยังไม่ป่วยและต้องการป้องกันโรคให้ตัวเอง สำหรับผู้ที่มีโรคแล้วยังไม่ควรทำตามและควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวก่อนนะครับ ด้วยความปรารถนาดีจาก หมอแอมป์

    --------------------

    keywords for Education:
    - Lifestyle Medicine

  • ในยุคข้อมูลข่าวสารในปัจจุบัน เรามักจะได้ยินคำว่า สเต็ม เซลล์ (Stem cell) ส่วนมากจะมีการพูดถึงประโยชน์และความเป็นไปได้ในการรักษาโรคที่หายยาก รวมไปถึงการชะลอวัย (Anti-aging)และความสวยความงาม วันนี้คุณหมอแอมป์จะมาให้ข้อมูลอย่างละเอียดเกี่ยวกับเซลล์ชนิดนี้ ว่ามีความเป็นมาอย่างไร และ ใช้ได้ผลจริงในทางการแพทย์หรือไม่

    ออกอากาศทางช่อง PPTV HD ทุกวันศุกร์ เวลา 13.10-13.40
    ออกอากาศเมื่อ พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

  • ในยุคข้อมูลข่าวสารในปัจจุบัน เรามักจะได้ยินคำว่า สเต็ม เซลล์ (Stem cell) ส่วนมากจะมีการพูดถึงประโยชน์และความเป็นไปได้ในการรักษาโรคที่หายยาก รวมไปถึงการชะลอวัย (Anti-aging)และความสวยความงาม วันนี้คุณหมอแอมป์จะมาให้ข้อมูลอย่างละเอียดเกี่ยวกับเซลล์ชนิดนี้ ว่ามีความเป็นมาอย่างไร และ ใช้ได้ผลจริงในทางการแพทย์หรือไม่

    ออกอากาศทางช่อง PPTV HD ทุกวันศุกร์ เวลา 13.10-13.40
    ออกอากาศเมื่อ พย พศ.2558

  • รายการ Dr.Amp Podcast เรื่องเล่าสุขภาพดี กับ หมอแอมป์ ตอน "5 เคล็ดลับสุขภาพดี เปลี่ยนคุณเป็นคนใหม่" โดย นพ. ตนุพล วิรุฬหการุญ-ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และ ผู้อำนวยการ BDMS Welness Clinic-ผู้อำนวยการ RoyalLife โรงพยาบาลกรุงเทพ-นายกสมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ (BARSO)🌐http://www.dramp.com➡️Instagram: DrAmp Team➡️Spotify: Dr.Amp Team© drampCopyright 2020-เทปนี้มีลิขสิทธิ์ ห้ามนำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต มีผลในทางกฏหมาย-ปล.เป็นคลิปให้คำแนะนำแก่ผู้รักสุขภาพที่ยังไม่ป่วยและต้องการป้องกันโรคให้ตัวเอง สำหรับผู้ที่มีโรคแล้วยังไม่ควรทำตามและควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวก่อนนะครับ ด้วยความปรารถนาดีจาก หมอแอมป์-------------------แหล่งที่มา 1.Xie L, Kang H, Xu Q, Chen MJ, Liao Y, Thiyagarajan M, et al. Sleep drives metabolite clearance from the adult brain. science. 2013;342(6156):373-7.2.Benveniste H. The Brain's Waste-Removal System. Cerebrum. 2018;2018:cer-09-18.3.Fondell E, Axelsson J, Franck K, Ploner A, Lekander M, Bälter K, et al. Short natural sleep is associated with higher T cell and lower NK cell activities. Brain, Behavior, and Immunity [Internet]. 2011 Oct;25(7):1367–75.4.Schmidt S, Tramsen L, Rais B, Ullrich E, Lehrnbecher T. Natural killer cells as a therapeutic tool for infectious diseases–current status and future perspectives. Oncotarget. 2018 Apr 17;9(29):20891.5.Kaur C, Singh P. EEG Derived Neuronal Dynamics during Meditation: Progress and Challenges. Adv Prev Med. 2015;2015:614723-.6.Mander BA, Winer JR, Walker MP. Sleep and human aging. Neuron. 2017 Apr 5;94(1):19-36.7.Lane JM, Liang J, Vlasac I, Anderson SG, Bechtold DA, Bowden J, et al. Genome-wide association analyses of sleep disturbance traits identify new loci and highlight shared genetics with neuropsychiatric and metabolic traits. Nat Genet. 2017;49(2):274-81.8.Kelly J, Shull J. The Foundations of Lifestyle Medicine Board Review Course 2nd Edition: American College of Lifestyle Medicine; 2019.9.World Health Organization. (2018). Noncommunicable diseases country profiles 2018.10.World Health Organization. Global recommendations on physical activity for health. 2010.11.Schneider PL, Bassett DR, Thompson DL, Pronk NP, Bielak KM. Effects of a 10,000 Steps per Day Goal in Overweight Adults. American Journal of Health Promotion. 2006;21(2):85-9.12.หนังสือเอกสารเผยแพร่ ไร้พุง ลดโรค กินถูกส่วน 2:1:1 โดยสำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เข้าถึงได้จาก : http://nutrition.anamai.moph.go.th/download/article/article_20160323133635.pdf 13.Q&A on the carcinogenicity of the consumption of red meat and processed meat. (2015). [ebook] World Health Organization: WHO. Available at: http://www.who.int/features/qa/cancer-red-meat/en/ [Accessed 20 Sep. 2020].14.Processed meats do cause cancer -World Health Organization (WHO). (2015). [ebook] Health editor, BBC News website. Available at: https://www.bbc.com/news/health-34615621 [Accessed 21 Sep. 2020].15.IARC Monographs evaluate consumption of red meat and processed meat. (2015). International Agency for Research on Cancer: IARC. Available at: https://www.iarc.fr/wp-content/uploads/2018/07/pr240_E.pdf [Accessed 20 Sep. 2020].16.Known and Probable Human Carcinogens. (2016). The American Cancer Society. Available at: https://www.cancer.org/cancer/cancer-causes/general-info/known-and-probable-humancarcinogens.html [Accessed 20 Sep. 2020].17.สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. รายงานการศึกษาวิจัยปี 2552 เรื่อง สารอาหารในกาแฟเย็นแคลอรี ของกาแฟแต่ละชนิด. ออนไลน์. ค้นเมื่อ 21 กันยายน 2563. เข้าถึงได้จาก : shorturl.at/zCS7818.US.EPA, Basic Ozone Layer Science | Ozone Layer Protection | US EPA. https://www.epa.gov/ozone-layer-protection/basicozone-layer-science [Accessed 20 Sep. 2020].19.NASA.”NASA Ozone Watch” National Aeronautics and Space Administration. https://ozonewatch.gsfc.nasa.gov/facts/SH.html [Accessed 20 Sep. 2020]20.Zhang J, Wei Y, Fang ZF. Ozone pollution: A major health hazard worldwide. Frontiers in immunology. 2019;10:2518.

  • ในยุคข้อมูลข่าวสารในปัจจุบัน เรามักจะได้ยินคำว่า สเต็ม เซลล์ (Stem cell) ส่วนมากจะมีการพูดถึงประโยชน์และความเป็นไปได้ในการรักษาโรคที่หายยาก รวมไปถึงการชะลอวัย (Anti-aging)และความสวยความงาม วันนี้คุณหมอแอมป์จะมาให้ข้อมูลอย่างละเอียดเกี่ยวกับเซลล์ชนิดนี้ ว่ามีความเป็นมาอย่างไร และ ใช้ได้ผลจริงในทางการแพทย์หรือไม่

    ออกอากาศทางช่อง PPTV HD ทุกวันศุกร์ เวลา 13.10-13.40
    ออกอากาศเมื่อ พฤศจิกายน พศ. 2558

  • รายการ สุขใจใกล้หมอ"ใกล้หมอชะลอวัยกับหมอแอมป์"
    EP 28 "เมื่อภูมิแพ้มาจากอาหารจานโปรด" โดย นพ. ตนุพล วิรุฬหการุญ
    -ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และ ผู้อำนวยการ BDMS Welness Clinic
    -ผู้อำนวยการ RoyalLife โรงพยาบาลกรุงเทพ
    -นายกสมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ (BARSO)

    🌐http://www.dramp.com
    ➡️Instagram: DrAmp Team
    ➡️Spotify: Dr.Amp Team
    © drampCopyright 2020

    -เทปนี้มีลิขสิทธิ์ ห้ามนำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต มีผลในทางกฏหมาย-

    ปล.เป็นคลิปให้คำแนะนำแก่ผู้รักสุขภาพที่ยังไม่ป่วยและต้องการป้องกันโรคให้ตัวเอง สำหรับผู้ที่มีโรคแล้วยังไม่ควรทำตามและควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวก่อนนะครับ ด้วยความปรารถนาดีจาก หมอแอมป์
    ออกอากาศทางช่อง PPTV HD 36 เมื่อ มีนาคม พศ.2558

  • รายการ สุขใจใกล้หมอ ใกล้หมอชะลอวัยกับหมอแอมป์"ถั่งเช่า ดีจริงหรือไม่?" ตอนที่ 2โดย หมอแอมป์ - นพ. ตนุพล วิรุฬหการุญ -ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และ ผู้อำนวยการ BDMS Welness Clinic-ผู้อำนวยการ RoyalLife โรงพยาบาลกรุงเทพ-นายกสมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ (BARSO)ออกอากาศทางช่อง PPTV HD 36 เมื่อ พ.ศ.2558Keywords for Education:-Cordyceps Sinensis-Herbal Medicine-Lifestyle Medicine🌐http://www.dramp.com➡️Instagram: DrAmp Team➡️Spotify: Dr.Amp Team© drampCopyright 2020-เทปนี้มีลิขสิทธิ์ ห้ามนำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต มีผลในทางกฏหมาย-ปล.เป็นคลิปให้คำแนะนำแก่ผู้รักสุขภาพที่ยังไม่ป่วยและต้องการป้องกันโรคให้ตัวเอง สำหรับผู้ที่มีโรคแล้วยังไม่ควรทำตามและควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวก่อนนะครับ ด้วยความปรารถนาดีจาก หมอแอมป์References:-Holliday, J., Cleaver, M., &Wasser, S. P. (2005). Cordyceps part 1. In encyclopedia of dietary supplements (pp.1-13) USA: Dekker Encyclopedias, Taylor and Francis Publishing-Kiho, T., Ookubo, K., Usui, S., Ukai, S., & Hirano, K. (1999). Structural features and hypoglycemic activity of a polysaccharide (CS-F10) from the cultured mycelium of Cordycepssinensis. Biological and Pharmaceutical Bulletin, 22, 966-970-Chen, Y, J., Shiao, M. S., Lee, S. S., & Wang, S. Y. (1997) Effect of Cordycepssinensis on the proliferation and differentiation of human leukemic U937 cells. Life Science, 60, 2349-2359-Zhang, W., Li, J., Qui, S., Chen, J., &Zheng Y. (2008). Effects of the exopolysaccharide fraction (EPSF) from a cultivated Cordycepssinensis on immunocytes of H22 tumor bearing mice-Yu, L., Zhao, J., Zhu, Q., & Li, S. (2007) Macrophage biospecific extraction and high performance liquid chromatography for hypothesis of immunological active components in Cordycepssinensis. Journal of Pharmaceutical and Biomedical Analysis, 44, 439-443-Kim, S. D. (2010). Isolation, structure and cholesterol esterase inhibitory activity of a polysaccharide, PS-A from Cordycepssinensis. Journal of the Korean Society for Applied Biological Chemistry, 53, 784-789-Yoshikawa, N., Nishiuchi, A., Kubo, E., Yamaguchi, Kunitomo, M., Kagota, S., Shinozuka, K., & Nakamura, K. (2011).Cordycepssinensis acts as an adenosine A3 receptor agonist on mouse melanoma and lung carcinoma cells, and human fibrosarcoma and colon carcino,a cells. Pharmacology & Pharmacy, 2, 266-270-Zhou, X., Luo, L., Dressel, W., Shadier, G., Krumbiegel, D., Schmidtke, P., Zepp, F., & Meyer, C. U. (2008).Cordycepsin is an immunoregulatory active ingredient of Cordycepssinensis. The American Journal of Chinese Medicines, 36, 967-980.-Matsuda, H., Akaki, J., Nakamura, S., Okazaki, Y., Kojima, H., Tamesada, M., & Yoshikawa, M. (2009). Apoptosis-inducing effects of sterols from the dried powder of cultured mycelium of Cordycepssinensis. Chemical and Pharmaceutical Bulletin (Tokyo), 57, 411-414-Wu, J., Zhang, Q., & Leung, P. (2007). Inhibitory effects of ethylacetate extract of Cordycepssinensis mycelium on various cancer cells in culture and B16 melanoma in C57BL/6 mice. Phytomedicines, 14, 43-49-Zheng, H., Maoqing, Y., XIA Liqiu, X., Wenjuan, T., Liang, L., & Guolin, Z. (2006). Purification and characterization of an antibacterial protein from the cultured mycelia of Cordyceps sinensis. Wuhan University Journal of Natural Science, 11, 709-714-Qian, G., Pan, G. -F., & Guo, J.-Y.(2012). Anti-inflammatory and antinociceptive effects of cordymin, a peptide purified from the medicinal mushroom Cordyceps sinensis. Natural Product Research, 1-5-Jing, M., Xiao, C., Chun, F. W., Li. W., & Gao, H. (2005) Cordycedipeptide A, a new cyclodipeptide from the culture liquis of Cordyceps sinensis (BERK.) SACC.. Chemical and Pharmaceutical Bulletin, 53, 582-583-Ding, C., Tian, P., Jia, L., Li, Y., Ding, X., Xiang, H., Xue, W., & Zhao, Y. (2009). The synergistic effects of Cordyceps sinensis with Cs A in preventing allograft rejection. Frontiers in Bioscience, 14, 3864-3871.

  • รายการ สุขใจใกล้หมอ ใกล้หมอชะลอวัยกับหมอแอมป์"ถั่งเช่า ดีจริงหรือไม่?" ตอนที่ 1โดย หมอแอมป์ - นพ. ตนุพล วิรุฬหการุญ -ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และ ผู้อำนวยการ BDMS Welness Clinic-ผู้อำนวยการ RoyalLife โรงพยาบาลกรุงเทพ-นายกสมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ (BARSO)ออกอากาศทางช่อง PPTV HD 36 เมื่อ พ.ศ.2558Keywords for Education:-Cordyceps Sinensis-Herbal Medicine-Lifestyle Medicine🌐http://www.dramp.com➡️Instagram: DrAmp Team➡️Spotify: Dr.Amp Team© drampCopyright 2020-เทปนี้มีลิขสิทธิ์ ห้ามนำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต มีผลในทางกฏหมาย-ปล.เป็นคลิปให้คำแนะนำแก่ผู้รักสุขภาพที่ยังไม่ป่วยและต้องการป้องกันโรคให้ตัวเอง สำหรับผู้ที่มีโรคแล้วยังไม่ควรทำตามและควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวก่อนนะครับ ด้วยความปรารถนาดีจาก หมอแอมป์References:-Holliday, J., Cleaver, M., &Wasser, S. P. (2005). Cordyceps part 1. In encyclopedia of dietary supplements (pp.1-13) USA: Dekker Encyclopedias, Taylor and Francis Publishing-Kiho, T., Ookubo, K., Usui, S., Ukai, S., & Hirano, K. (1999). Structural features and hypoglycemic activity of a polysaccharide (CS-F10) from the cultured mycelium of Cordycepssinensis. Biological and Pharmaceutical Bulletin, 22, 966-970-Chen, Y, J., Shiao, M. S., Lee, S. S., & Wang, S. Y. (1997) Effect of Cordycepssinensis on the proliferation and differentiation of human leukemic U937 cells. Life Science, 60, 2349-2359-Zhang, W., Li, J., Qui, S., Chen, J., &Zheng Y. (2008). Effects of the exopolysaccharide fraction (EPSF) from a cultivated Cordycepssinensis on immunocytes of H22 tumor bearing mice-Yu, L., Zhao, J., Zhu, Q., & Li, S. (2007) Macrophage biospecific extraction and high performance liquid chromatography for hypothesis of immunological active components in Cordycepssinensis. Journal of Pharmaceutical and Biomedical Analysis, 44, 439-443-Kim, S. D. (2010). Isolation, structure and cholesterol esterase inhibitory activity of a polysaccharide, PS-A from Cordycepssinensis. Journal of the Korean Society for Applied Biological Chemistry, 53, 784-789-Yoshikawa, N., Nishiuchi, A., Kubo, E., Yamaguchi, Kunitomo, M., Kagota, S., Shinozuka, K., & Nakamura, K. (2011).Cordycepssinensis acts as an adenosine A3 receptor agonist on mouse melanoma and lung carcinoma cells, and human fibrosarcoma and colon carcino,a cells. Pharmacology & Pharmacy, 2, 266-270-Zhou, X., Luo, L., Dressel, W., Shadier, G., Krumbiegel, D., Schmidtke, P., Zepp, F., & Meyer, C. U. (2008).Cordycepsin is an immunoregulatory active ingredient of Cordycepssinensis. The American Journal of Chinese Medicines, 36, 967-980.-Matsuda, H., Akaki, J., Nakamura, S., Okazaki, Y., Kojima, H., Tamesada, M., & Yoshikawa, M. (2009). Apoptosis-inducing effects of sterols from the dried powder of cultured mycelium of Cordycepssinensis. Chemical and Pharmaceutical Bulletin (Tokyo), 57, 411-414-Wu, J., Zhang, Q., & Leung, P. (2007). Inhibitory effects of ethylacetate extract of Cordycepssinensis mycelium on various cancer cells in culture and B16 melanoma in C57BL/6 mice. Phytomedicines, 14, 43-49-Zheng, H., Maoqing, Y., XIA Liqiu, X., Wenjuan, T., Liang, L., & Guolin, Z. (2006). Purification and characterization of an antibacterial protein from the cultured mycelia of Cordyceps sinensis. Wuhan University Journal of Natural Science, 11, 709-714-Qian, G., Pan, G. -F., & Guo, J.-Y.(2012). Anti-inflammatory and antinociceptive effects of cordymin, a peptide purified from the medicinal mushroom Cordyceps sinensis. Natural Product Research, 1-5-Jing, M., Xiao, C., Chun, F. W., Li. W., & Gao, H. (2005) Cordycedipeptide A, a new cyclodipeptide from the culture liquis of Cordyceps sinensis (BERK.) SACC.. Chemical and Pharmaceutical Bulletin, 53, 582-583-Ding, C., Tian, P., Jia, L., Li, Y., Ding, X., Xiang, H., Xue, W., & Zhao, Y. (2009). The synergistic effects of Cordyceps sinensis with Cs A in preventing allograft rejection. Frontiers in Bioscience, 14, 3864-3871.

  • 🥯🍞🥖 กลูเตน และกลูเตนฟรี เป็นคำที่เริ่มได้ยินบ่อยขึ้นในยุคปัจจุบัน ซึ่งล้วนเกี่ยวข้องกับอาหารที่เรารับประทานและสุขภาพของเราทั้งสิ้นวันนี้คุณหมอแอมป์จะพาเรามารู้จักกลูเตน ทั้งแหล่งที่มาของกลูเตน งานวิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวกับอาการแพ้กลูเตนทั้ง 3 แบบ รวมถึงวิธีสังเกตตัวเองว่ามีความเสี่ยงในการแพ้กลูเตนหรือไม่ และการเลือกทานอาหารกลูเตนฟรีให้เหมาะสมใน Podcast นี้เลยค่ะรายการ Dr.Amp Podcast เรื่องเล่าสุขภาพดี กับ หมอแอมป์ ตอน "กลูเตนและแป้งสาลี ข้อควรรู้แป้งยอดนิยม" โดย นพ. ตนุพล วิรุฬหการุญ-ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และ ผู้อำนวยการ BDMS Welness Clinic-ผู้อำนวยการ RoyalLife โรงพยาบาลกรุงเทพ-นายกสมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ (BARSO)🌐http://www.dramp.com➡️Instagram: DrAmp Team➡️Spotify: Dr.Amp Team© drampCopyright 2020-เทปนี้มีลิขสิทธิ์ ห้ามนำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต มีผลในทางกฏหมาย-ปล.เป็นคลิปให้คำแนะนำแก่ผู้รักสุขภาพที่ยังไม่ป่วยและต้องการป้องกันโรคให้ตัวเอง สำหรับผู้ที่มีโรคแล้วยังไม่ควรทำตามและควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวก่อนนะครับ ด้วยความปรารถนาดีจาก หมอแอมป์--------------------แหล่งที่มา ตอน กลูเตนและแป้งสาลี ข้อควรรู้แป้งยอดนิยม 🥯🍞🥖1.Shewry, P. R., Halford, N. G., Belton, P. S., & Tatham, A. S. (2002). The structure and properties of gluten: an elastic protein from wheat grain. Philosophical Transactions of the Royal Society of London. Series B: Biological Sciences, 357(1418), 133-142.2.Niland, B., & Cash, B. D. (2018). Health Benefits and Adverse Effects of a Gluten-Free Diet in Non-Celiac Disease Patients. Gastroenterology & hepatology, 14(2), 82–91. 3.Balakireva, A. V., & Zamyatnin, A. A. (2016). Properties of Gluten Intolerance: Gluten Structure, Evolution, Pathogenicity and Detoxification Capabilities. Nutrients, 8(10), 644. https://doi.org/10.3390/nu81006444.Rubio-Tapia, A., Ludvigsson, J. F., Brantner, T. L., Murray, J. A., & Everhart, J. E. (2012). The prevalence of celiac disease in the United States. The American journal of gastroenterology, 107(10), 1538–1545. https://doi.org/10.1038/ajg.2012.2195. Posner, E. B., & Haseeb, M. (2018). Celiac disease.6.Koning, F. (2003). The molecular basis of celiac disease. Journal of Molecular Recognition, 16(5), 333-336.7. Lundin, K. E., Nilsen, E. M., Scott, H. G., Løberg, E. M., Gjøen, A., Bratlie, J., Skar, V., Mendez, E., Løvik, A., & Kett, K. (2003). Oats induced villous atrophy in coeliac disease. Gut, 52(11), 1649–1652. https://doi.org/10.1136/gut.52.11.16498. Ludvigsson, J. F., Lindelöf, B., Zingone, F., & Ciacci, C. (2011). Psoriasis in a nationwide cohort study of patients with celiac disease. The Journal of investigative dermatology, 131(10), 2010–2016. https://doi.org/10.1038/jid.2011.1629. Naveh, Y., Rosenthal, E., Ben-Arieh, Y., & Etzioni, A. (1999). Celiac disease-associated alopecia in childhood. The Journal of pediatrics, 134(3), 362–364. https://doi.org/10.1016/s0022-3476(99)70466-x10. Haussmann, J., & Sekar, A. (2006). Chronic urticaria: a cutaneous manifestation of celiac disease. Canadian journal of gastroenterology = Journal canadien de gastroenterologie, 20(4), 291–293. https://doi.org/10.1155/2006/87198711.Lewis, D., Haridy, J., & Newnham, E. D. (2017). Testing for coeliac disease. Australian prescriber, 40(3), 105–108. https://doi.org/10.18773/austprescr.2017.02912. Dimitrova, A. K., Ungaro, R. C., Lebwohl, B., Lewis, S. K., Tennyson, C. A., Green, M. W., Babyatsky, M. W., & Green, P. H. (2013). Prevalence of migraine in patients with celiac disease and inflammatory bowel disease. Headache, 53(2), 344–355. https://doi.org/10.1111/j.1526-4610.2012.02260.x13. Addolorato, G., Marsigli, L., Capristo, E., Caputo, F., Dall'Aglio, C., & Baudanza, P. (1998). Anxiety and depression: a common feature of health care seeking patients with irritable bowel syndrome and food allergy. Hepato-gastroenterology, 45(23), 1559–1564.

  • รายการ สุขใจใกล้หมอ "ใกล้หมอชะลอวัยกับหมอแอมป์"
    "วิธีลดไขมันด้วยวิตามิน " EP.25 โดย นพ. ตนุพล วิรุฬหการุญ ผู้อำนวยการ RoyalLife โรงพยาบาลกรุงเทพ
    และ นายกสมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ (BARSO).
    ออกอากาศทางช่อง PPTV HD 36 เมื่อ มิถุนายน พศ. 2558

    ปัจจุบัน โรคไขมันในเลือดสูงได้กลายเป็นโรคสามัญประจำบ้าน และการรับประทานยาลดไขมันดูเหมือนจะเป็นทางออกเดียวในการรักษาโรคนี้ แต่คุณทราบไหมว่า นอกจากการรับประทานยา การรับประทานวิตามินและอาหารเสริมเฉพาะบุคคลที่ปรุงเฉพาะบุคคล (Customized supplements)ตามผลเลือดจะสามารถช่วยเร่งการเผาผลาญและป้องกันโรคต่างๆที่มากับภาวะนี้ได้ วันนี้เรามาฟังคำแนะนำดีๆจากคุณหมอแอมป์กันค่ะ

    drampCopyright 2015

    -เทปนี้มีลิขสิทธิ์ ห้ามนำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต มีผลในทางกฏหมาย-

    ปล.เป็นคลิปให้คำแนะนำแก่ผู้รักสุขภาพที่ยังไม่ป่วยและต้องการป้องกันโรคให้ตัวเอง สำหรับผู้ที่มีโรคแล้วยังไม่ควรทำตามและควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวก่อนนะครับ ด้วยความปรารถนาดีจาก หมอแอมป์

  • ผมร่วง ปัญหาที่พบเจอได้ในชีวิตประจำวัน ต่างก็มีสาเหตุค่อนข้างหลากหลายที่แตกต่างกันไปในแต่ละคน วันนี้คุณหมอแอมป์จะพาเรามารู้จักกับเส้นผม สาเหตุและปัจจัยที่ทำให้ผมร่วง รวมถึงเคล็ดลับวิธีการบำรุงด้วยแร่ธาตุและวิตามินต่างๆ ที่สามารถเสริมทานเข้าไปได้ใน Podcast นี้เลยค่ะ

    รายการ Dr.Amp Podcast เรื่องเล่าสุขภาพดี กับ หมอแอมป์
    ตอน "5 สุดยอดวิตามินและแร่ธาตุบำรุงผม" โดย นพ. ตนุพล วิรุฬหการุญ
    -ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และ ผู้อำนวยการ BDMS Welness Clinic
    -ผู้อำนวยการ RoyalLife โรงพยาบาลกรุงเทพ
    -นายกสมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ (BARSO)

    🌐http://www.dramp.com
    ➡️Instagram: DrAmp Team
    ➡️Spotify: Dr.Amp Team
    © drampCopyright 2020

    -เทปนี้มีลิขสิทธิ์ ห้ามนำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต มีผลในทางกฏหมาย-

    ปล.เป็นคลิปให้คำแนะนำแก่ผู้รักสุขภาพที่ยังไม่ป่วยและต้องการป้องกันโรคให้ตัวเอง สำหรับผู้ที่มีโรคแล้วยังไม่ควรทำตามและควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวก่อนนะครับ ด้วยความปรารถนาดีจาก หมอแอมป์

    --------------------

    แหล่งที่มา ตอน 5 สุดยอดวิตามินบำรุงผม

    1.The American Academy of Dermatology. WHAT KIDS SHOULD KNOW ABOUT HOW HAIR GROWS. Available from: https://rb.gy/ejzkpd
    2.Finner AM. Nutrition and hair: deficiencies and supplements. Dermatologic clinics. 2013;31(1):167-72.
    3.Betsy A, Binitha M, Sarita S. Zinc deficiency associated with hypothyroidism: an overlooked cause of severe alopecia. Int J Trichology. 2013;5(1):40.
    4.Lee Y, Kim Y-D, Hyun H-J, Pi L-q, Jin X, Lee W-S. Hair shaft damage from heat and drying time of hair dryer. Annals of dermatology. 2011;23(4):455-62.
    5.Ikram S, Malik A, Suhail M. Physiological skin changes during pregnancy. Journal of Pakistan Association of Dermatology. 2018;28(2):219-23.
    6.DONOVAN Clinic. Stress and Hair Loss: Is it real? What is the mechanism? 2020. Available from: https://rb.gy/7h7eyi
    7.Lie C, Liew CF, Oon HH. Alopecia and the metabolic syndrome. Clinics in dermatology. 2018;36(1):54-61.
    8.Bin Saif GA, Alotaibi HM, Alzolibani AA, Almodihesh NA, Albraidi HF, Alotaibi NM, et al. Association of psychological stress with skin symptoms among medical students. Saudi Med J. 2018;39(1):59-66.
    9.Turner KJ, Vasu V, Griffin DK. Telomere biology and human phenotype. Cells. 2019;8(1):73.
    10.Schweiger ES, Boychenko O, Bernstein RM. Update on the pathogenesis, genetics and medical treatment of patterned hair loss. Journal of drugs in dermatology: JDD. 2010;9(11):1412.
    11.Patel DP, Swink SM, Castelo-Soccio L. A review of the use of biotin for hair loss. Skin appendage disorders. 2017;3(3):166-9.
    12.Glynis A. A Double-blind, Placebo-controlled Study Evaluating the Efficacy of an Oral Supplement in Women with Self-perceived Thinning Hair. J Clin Aesthet Dermatol. 2012;5(11):28-34.
    13.Saper RB, Rash R. Zinc: an essential micronutrient. American family physician. 2009;79(9):768.
    14.Trüeb RM. Oxidative stress in ageing of hair. Int J Trichology. 2009;1(1):6-14.
    15.Deloche C, Bastien P, Chadoutaud S, et al. Low iron stores: a risk factor for excessive hair loss in non-menopausal women. Eur J Dermatol. 2007;17(6):507-512. doi:10.1684/ejd.2007.0265
    16.Olsen EA, Reed KB, Cacchio PB, Caudill L. Iron deficiency in female pattern hair loss, chronic telogen effluvium, and control groups. J Am Acad Dermatol. 2010;63(6):991-999. doi:10.1016/j.jaad.2009.12.006
    17.Daulatabad D, Singal A, Grover C, Chhillar N. Prospective analytical controlled study evaluating serum biotin, vitamin b12, and folic acid in patients with premature canities. Int J Trichology. 2017;9(1):19.
    18.Esmaeilzadeh S, Gholinezhad-Chari M, Ghadimi R. The effect of metformin treatment on the serum levels of homocysteine, folic acid, and vitamin B12 in patients with polycystic ovary syndrome. Journal of human reproductive sciences. 2017;10(2):95.

  • รายการ สุขใจใกล้หมอ ช่วง "ใกล้หมอชะลอวัยกับหมอแอมป์"

    ตอน ''เรื่องต้องรู้เมื่อก้าวสู่วัยทอง" EP19 โดย นพ. ตนุพล วิรุฬหการุญ

    ผู้อำนวยการ RoyalLife โรงพยาบาลกรุงเทพ
    และ นายกสมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ (BARSO).
    ออกอากาศทางช่อง PPTV HD 36 เมื่อ มกราคม พศ.2558

    drampCopyright 2015

    -เทปนี้มีลิขสิทธิ์ ห้ามนำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต มีผลในทางกฏหมาย-

    ปล.เป็นคลิปให้คำแนะนำแก่ผู้รักสุขภาพที่ยังไม่ป่วยและต้องการป้องกันโรคให้ตัวเอง สำหรับผู้ที่มีโรคแล้วยังไม่ควรทำตามและควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวก่อนนะครับ ด้วยความปรารถนาดีจาก หมอแอมป์

  • รายการ Dr.Amp Podcast เรื่องเล่าสุขภาพดี กับ หมอแอมป์
    ตอน "ความเครียด ภัยเงียบร้ายทำลายร่างกาย" โดย นพ. ตนุพล วิรุฬหการุญ
    -ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และ ผู้อำนวยการ BDMS Welness Clinic
    -ผู้อำนวยการ RoyalLife โรงพยาบาลกรุงเทพ
    -นายกสมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ (BARSO)

    สังคมปัจจุบันทำให้เราต่างมีความเครียดสะสมเกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัว จนส่งผลให้ระบบการทำงานอื่นๆ ของร่างกายอ่อนแอลง เปรียบได้เสมือนภัยเงียบที่ส่งผลต่อสุขภาพของเรา

    มารู้จักกับฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับความเครียด ทั้ง คอร์ติซอล (Cortisol) ฮอร์โมนแห่งความเครียด และ ดีเอชอีเอ (DHEA) ฮอร์โมนต่อต้านความเครียด พร้อมเคล็ดลับในการคลายเครียดได้ใน Podcast นี้เลย

    🌐http://www.dramp.com
    ➡️Instagram: DrAmp Team
    ➡️Spotify: Dr.Amp Team
    © drampCopyright 2020

    -เทปนี้มีลิขสิทธิ์ ห้ามนำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต มีผลในทางกฏหมาย-

    ปล.เป็นคลิปให้คำแนะนำแก่ผู้รักสุขภาพที่ยังไม่ป่วยและต้องการป้องกันโรคให้ตัวเอง สำหรับผู้ที่มีโรคแล้วยังไม่ควรทำตามและควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวก่อนนะครับ ด้วยความปรารถนาดีจาก หมอแอมป์


    แหล่งอ้างอิง ตอน ความเครียด ภัยเงียบร้ายทำลายร่างกาย กับ หมอแอมป์
    1.ตนุพล วิรุฬหการุญ. สุขภาพดี อายุ100ปี คุณก็มีได้. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: ฟรีมายด์ พับลิชชิ่ง จำกัด; 2561.
    2.Morey JN, Boggero IA, Scott AB, Segerstrom SC. Current directions in stress and human immune function. Current opinion in psychology. 2015;5:13-7.
    3. Epel E, Daubenmier J, Moskowitz JT, Folkman S, Blackburn E. Can meditation slow rate of cellular aging? Cognitive stress, mindfulness, and telomeres. Annals of the New York Academy of Sciences. 2009;1172:34.
    4. Davidson RJ, Kabat-Zinn J, Schumacher J, et al: Alterations in brain and immune function produced by mindfulness meditation. Psychosom Med 65(4):564–570, 2003.
    5. Turakitwanakan W, Mekseepralard C, Busarakumtragul P. Effects of mindfulness meditation on serum cortisol of medical students. J Med Assoc Thai. 2013;96(Suppl 1): S90-5.
    6. Black DS, Slavich GM. Mindfulness meditation and the immune system: a systematic review of randomized controlled trials. Annals of the New York Academy of Sciences. 2016;1373(1):13.
    7. Fang CY, Reibel DK, Longacre ML, et al: Enhanced psychosocial wellbeing following participation in a mindfulness-based stress reduction program is associated with increased natural killer cell activity. J Altern Comp Med 16(5):531–538, 2009.
    8. Bateson M, Aviv A, Bendix L, Benetos A, Ben-Shlomo Y, Bojesen SE, et al. Smoking does not accelerate leucocyte telomere attrition: a meta-analysis of 18 longitudinal cohorts. Royal Society open science. 2019;6(6):190420.
    9. Shammas MA. Telomeres, lifestyle, cancer, and aging. Current opinion in clinical nutrition and metabolic care. 2011;14(1):28.

  • รายการ สุขใจใกล้หมอ "ใกล้หมอชะลอวัยกับหมอแอมป์"
    EP 33"การสร้างสุขภาพจิตที่ดี" โดย นพ. ตนุพล วิรุฬหการุญ ผู้อำนวยการ RoyalLife โรงพยาบาลกรุงเทพ
    และ นายกสมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ (BARSO)

    ออกอากาศทางช่อง PPTV HD 36 เมื่อ มิถุนายน พศ.2558

    นอกเหนือจากเรื่องของสุขภาพทางกายแล้ว(Physical health) สุขภาพทางจิต(Mental Health) ก็เป็นอีกองค์ประกอบสำคัญที่จะนำไปสู่อายุที่ยืนยาวและคุณภาพชีวิตที่ดี ความเครียดเป็นสาเหตุหนึ่งที่กำลังบั่นทอนสุขภาพทางจิตของเราโดยที่เราไม่รู้ตัว เราจะรู้ได้อย่างไรว่าร่างกายกำลังถูกโจมตีด้วย'ความเครียด'? และเราจะรับมือกับมันด้วยวิธีใด?
    มาฟังคำตอบจากคุณหมอแอมป์กันค่ะ

    http://www.barso.or.th

    http://dramp.com

    drampCopyright 2015

    -เทปนี้มีลิขสิทธิ์ ห้ามนำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต มีผลในทางกฏหมาย-

    ปล.เป็นคลิปให้คำแนะนำแก่ผู้รักสุขภาพที่ยังไม่ป่วยและต้องการป้องกันโรคให้ตัวเอง สำหรับผู้ที่มีโรคแล้วยังไม่ควรทำตามและควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวก่อนนะครับ ด้วยความปรารถนาดีจาก หมอแอมป์